ส่วนอาหารที่ใช้เลี้ยงลูกไก่ชนในช่วง 5 เดือนแรก ควรใช้อาหารลูกหมูเล็กระยะก่อนหย่านม เพื่อเร่งให้ลูกไก่โตเร็ว และมีโครงสร้างแข็งแรง จนกระทั่งอายุครบ 5 เดือน ไม่ควรให้อาหารลูกหมูอีก เพราะจะทำให้ไก่อ้วนเกินไป และอาจมีอาการขาอ่อน นำไปตีได้ไม่ดี แนะนำให้นำข้าวเปลือกชนิดเม็ดสั้นมาให้กินแทน แล้วเริ่มนำไปซ้อมตีได้เมื่ออายุ 6 เดือน จะได้ไก่ที่แข็งแกร่ง
ไก่ชนไทย ชนไก่นานาชาติ
วันเสาร์ที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2555
เทคนิคเลี้ยงลูกไก่ชน
การจะเลี้ยงลูกไก่ให้เป็นไก่ชน แนะนำว่าควรเลี้ยงให้ใกล้เคียงกับสภาพธรรมชาติมากที่สุด คือตั้งแต่ฟักไข่ ก็ควรให้แม่ไก่ฟักไข่เอง หรือจะฝากให้แม่ไก่ตัวอื่นฟักแทนก็ได้ จะทำให้ลูกไก่สมบูรณ์ ดีกว่านำไปฟักในตู้ฟักแบบอัตโนมัติ เพราะไข่จะฟักออกมาเป็นตัวทุกฟอง จากนั้นปล่อยลูกไก่ให้คุ้ยเขี่ยหากินกับแม่ในสภาพธรรมชาติหากไม่มีร่มไม้ไว้ให้หลบภัยจากนกเหยี่ยว ควรจะเลี้ยงแม่ไก่ไว้ในสุ่ม แล้วปล่อยลูกให้หากินด้านนอก ใกล้ๆ สุ่ม จะดีกว่าปล่อยไปหากินที่โล่งแจ้ง
ส่วนอาหารที่ใช้เลี้ยงลูกไก่ชนในช่วง 5 เดือนแรก ควรใช้อาหารลูกหมูเล็กระยะก่อนหย่านม เพื่อเร่งให้ลูกไก่โตเร็ว และมีโครงสร้างแข็งแรง จนกระทั่งอายุครบ 5 เดือน ไม่ควรให้อาหารลูกหมูอีก เพราะจะทำให้ไก่อ้วนเกินไป และอาจมีอาการขาอ่อน นำไปตีได้ไม่ดี แนะนำให้นำข้าวเปลือกชนิดเม็ดสั้นมาให้กินแทน แล้วเริ่มนำไปซ้อมตีได้เมื่ออายุ 6 เดือน จะได้ไก่ที่แข็งแกร่ง
ส่วนอาหารที่ใช้เลี้ยงลูกไก่ชนในช่วง 5 เดือนแรก ควรใช้อาหารลูกหมูเล็กระยะก่อนหย่านม เพื่อเร่งให้ลูกไก่โตเร็ว และมีโครงสร้างแข็งแรง จนกระทั่งอายุครบ 5 เดือน ไม่ควรให้อาหารลูกหมูอีก เพราะจะทำให้ไก่อ้วนเกินไป และอาจมีอาการขาอ่อน นำไปตีได้ไม่ดี แนะนำให้นำข้าวเปลือกชนิดเม็ดสั้นมาให้กินแทน แล้วเริ่มนำไปซ้อมตีได้เมื่ออายุ 6 เดือน จะได้ไก่ที่แข็งแกร่ง
เทคนิคเลี้ยงลูกไก่ชน
การจะเลี้ยงลูกไก่ให้เป็นไก่ชน แนะนำว่าควรเลี้ยงให้ใกล้เคียงกับสภาพธรรมชาติมากที่สุด คือตั้งแต่ฟักไข่ ก็ควรให้แม่ไก่ฟักไข่เอง หรือจะฝากให้แม่ไก่ตัวอื่นฟักแทนก็ได้ จะทำให้ลูกไก่สมบูรณ์ ดีกว่านำไปฟักในตู้ฟักแบบอัตโนมัติ เพราะไข่จะฟักออกมาเป็นตัวทุกฟอง จากนั้นปล่อยลูกไก่ให้คุ้ยเขี่ยหากินกับแม่ในสภาพธรรมชาติหากไม่มีร่มไม้ไว้ให้หลบภัยจากนกเหยี่ยว ควรจะเลี้ยงแม่ไก่ไว้ในสุ่ม แล้วปล่อยลูกให้หากินด้านนอก ใกล้ๆ สุ่ม จะดีกว่าปล่อยไปหากินที่โล่งแจ้ง
ส่วนอาหารที่ใช้เลี้ยงลูกไก่ชนในช่วง 5 เดือนแรก ควรใช้อาหารลูกหมูเล็กระยะก่อนหย่านม เพื่อเร่งให้ลูกไก่โตเร็ว และมีโครงสร้างแข็งแรง จนกระทั่งอายุครบ 5 เดือน ไม่ควรให้อาหารลูกหมูอีก เพราะจะทำให้ไก่อ้วนเกินไป และอาจมีอาการขาอ่อน นำไปตีได้ไม่ดี แนะนำให้นำข้าวเปลือกชนิดเม็ดสั้นมาให้กินแทน แล้วเริ่มนำไปซ้อมตีได้เมื่ออายุ 6 เดือน จะได้ไก่ที่แข็งแกร่ง
ส่วนอาหารที่ใช้เลี้ยงลูกไก่ชนในช่วง 5 เดือนแรก ควรใช้อาหารลูกหมูเล็กระยะก่อนหย่านม เพื่อเร่งให้ลูกไก่โตเร็ว และมีโครงสร้างแข็งแรง จนกระทั่งอายุครบ 5 เดือน ไม่ควรให้อาหารลูกหมูอีก เพราะจะทำให้ไก่อ้วนเกินไป และอาจมีอาการขาอ่อน นำไปตีได้ไม่ดี แนะนำให้นำข้าวเปลือกชนิดเม็ดสั้นมาให้กินแทน แล้วเริ่มนำไปซ้อมตีได้เมื่ออายุ 6 เดือน จะได้ไก่ที่แข็งแกร่ง
วันอังคารที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2555
วันเสาร์ที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2555
กรมปศุสัตว์จัดเต็มป้องกันโรคไข้หวัดนกจากประเทศเพื่อนบ้านเข้าสู่ประเทศไทย
เขียนโดย คุณมณฑิชา นาควานิช
กรมปศุสัตว์จัดเต็มป้องกันโรคไข้หวัดนกจากประเทศเพื่อนบ้านเข้าสู่ประเทศไทย(58/2555)
อธิบดีกรมปศุสัตว์ สั่งการให้ทุกหน่วยงานที่มีติดต่อกับชายแดนประเทศกัมพูชา ลาว และพม่า ให้เข้มงวด กวดขัน อย่างเต็มที่ เพื่อการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกจากประเทศเพื่อนบ้านเข้าสู่ประเทศไทย
นายสัตวแพทย์ทฤษดี ชาวสวนเจริญ อธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวว่า กรมปศุสัตว์ได้จัดกิจกรรมเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกและฉีดพ่นน้ำยาฆ่าเชื้อโรคในพื้นที่ตามแนวชายแดนประเทศเพื่อนบ้าน ระหว่างวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ – ๒ มีนาคม ๒๕๕๕ พร้อมสั่งการให้ทุกหน่วยงานที่มีติดต่อกับชายแดนประเทศเพื่อนบ้าน เข้มงวด กวดขัน อย่างเต็มที่ ในการ ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกจากประเทศเพื่อนบ้านเข้าสู่ประเทศไทย
ประเทศไทยมี 27 จังหวัด ที่มีชายแดนติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ประเทศกัมพูชา ลาว และพม่า (ได้แก่จังหวัดระนอง ชุมพร ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ราชบุรี กาญจนบุรี ตาก แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา น่าน อุตรดิตถ์ พิษณุโลก เลย หนองคาย บึงกาฬ มุกดาหาร นครพนม อำนาจเจริญ อุบลราชธานี ศรีสะเกษ บุรีรัมย์ สุรินทร์ สระแก้ว จันทบุรี และตราด) จึงได้สั่งการให้เจ้าหน้าที่ และเครือข่ายด้านปศุสัตว์เข้าพื้นที่ตรวจเยี่ยมเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ปีกทุกหลังคาเรือน หากพบสัตว์ปีกป่วยตายผิดปกติให้ทำลายทันที และฉีดพ่นน้ำยาฆ่าเชื้อโรคในพื้นที่เสี่ยง พร้อมทั้งสุ่มเก็บตัวอย่าง cloacal swab ในสัตว์ปีกที่เลี้ยงบริเวณบ้านในทุกหมู่บ้านของตำบลตามแนวชายแดน เพื่อส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการต่อไป และให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้มงวดตรวจสอบการลักลอบการเคลื่อนย้ายสัตว์ปีกเข้าออกตามแนวชายแดนพร้อมทั้งประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความเข้าใจให้แก่ประชาชนในพื้นที่อีกด้วย
อธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวเพิ่มเติมว่า กรมปศุสัตว์ได้มีมาตรการป้องกันโรคตามแนวชายแดน โดยไม่อนุญาตให้นำไก่ เป็ด ห่าน และนก รวมถึงไข่ที่ใช้สำหรับทำพันธุ์ และซากสัตว์ปีก ดังกล่าวจากประเทศกัมพูชาเข้าราชอาณาจักรจนกว่าสถานการณ์โรคจะสงบ ให้ด่านกักกันสัตว์ร่วมกับหน่วยงานที่รับผิดชอบแนวชายแดน เช่น ศุลกากร ด่านตรวจคน เข้าเมือง ทหาร ตำรวจตระเวนชายแดน ฯลฯ ตรวจสอบ ตรวจค้นผู้ที่เดินทางเข้าประเทศอย่างละเอียดว่ามีการลักลอบนำสัตว์ปีกหรือซากสัตว์ปีกเข้าราชอาณาจักรหรือไม่ ทั้งรถยนต์ รถจักรยานยนต์ รถจักรยาน เรือ รถเข็น ตลอดจนการเดินเท้าเข้ามา หากพบการกระทำผิดให้จับกุมดำเนินคดี ยึดของกลางเพื่อตรวจพิสูจน์ หากพบว่าเป็นโรคระบาดหรือพาหะของโรคระบาดให้ทำลายตามกฎหมายว่าด้วยโรคระบาดสัตว์ต่อไป และกำชับให้เจ้าหน้าที่ของด่านกักกันสัตว์ตั้งจุดพ่นยาฆ่าเชื้อในบริเวณจุดผ่านแดน โดยให้พ่นยานพาหนะทุกคันที่สงสัยว่ามีการปนเปื้อนเชื้อโรค ทั้งรถยนต์ รถจักรยานยนต์ รถจักรยาน ตลอดจนรถเข็น โดยเน้นให้ฉีดพ่นด้วยเครื่องพ่นยาฆ่าเชื้อแรงดันสูงที่ล้อรถและบริเวณใต้ท้องรถ หากเป็นรถบรรทุกสัตว์ให้ฉีดพ่นทั้งบริเวณที่บรรทุกสัตว์ให้เปียกชุ่ม
อีกทั้งเน้นประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนบริเวณแนวชายแดน ตลอดจนผู้ที่เดินทางเข้า-ออกราชอาณาจักรให้ระมัดระวังป้องกันโรคไข้หวัดนก ตลอดจนขอความร่วมมือในการแจ้งเบาะแสการลักลอบนำเข้าสัตว์ปีกและซากสัตว์ปีก ให้หน่วยงานที่รับผิดชอบบริเวณแนวชายแดนมีการพบปะหารือ และแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านโรคระบาดสัตว์ ระหว่างเจ้าหน้าที่ไทยกับประเทศเพื่อนบ้านเป็นประจำทั้งอย่างเป็นทางการ และไม่เป็นทางการ และด่านกักกันสัตว์ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการลาดตระเวนดักซุ่มหาข่าวการลักลอบนำเข้าสัตว์และซากสัตว์เป็นประจำ พร้อมทั้งดำเนินคดีผู้กระทำผิดอย่างเข้มงวด
และสุดท้ายต้องขอความร่วมมือจากหน่วยงานทุกฝ่ายให้ดำเนินงานอย่างเคร่งครัดเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกจากประเทศเพื่อนบ้านเข้าสู่ประเทศไทย
………………………………………………………
ข้อมูล : สำนักควบคุม ป้องกัน และบำบัดโรคสัตว์
เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ : น้องนุช สาสะกุล นักวิชาการเผยแพร่ชำนาญการ กรมปศุสัตว์
กรมปศุสัตว์จัดเต็มป้องกันโรคไข้หวัดนกจากประเทศเพื่อนบ้านเข้าสู่ประเทศไทย(58/2555)
อธิบดีกรมปศุสัตว์ สั่งการให้ทุกหน่วยงานที่มีติดต่อกับชายแดนประเทศกัมพูชา ลาว และพม่า ให้เข้มงวด กวดขัน อย่างเต็มที่ เพื่อการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกจากประเทศเพื่อนบ้านเข้าสู่ประเทศไทย
นายสัตวแพทย์ทฤษดี ชาวสวนเจริญ อธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวว่า กรมปศุสัตว์ได้จัดกิจกรรมเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกและฉีดพ่นน้ำยาฆ่าเชื้อโรคในพื้นที่ตามแนวชายแดนประเทศเพื่อนบ้าน ระหว่างวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ – ๒ มีนาคม ๒๕๕๕ พร้อมสั่งการให้ทุกหน่วยงานที่มีติดต่อกับชายแดนประเทศเพื่อนบ้าน เข้มงวด กวดขัน อย่างเต็มที่ ในการ ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกจากประเทศเพื่อนบ้านเข้าสู่ประเทศไทย
ประเทศไทยมี 27 จังหวัด ที่มีชายแดนติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ประเทศกัมพูชา ลาว และพม่า (ได้แก่จังหวัดระนอง ชุมพร ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ราชบุรี กาญจนบุรี ตาก แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา น่าน อุตรดิตถ์ พิษณุโลก เลย หนองคาย บึงกาฬ มุกดาหาร นครพนม อำนาจเจริญ อุบลราชธานี ศรีสะเกษ บุรีรัมย์ สุรินทร์ สระแก้ว จันทบุรี และตราด) จึงได้สั่งการให้เจ้าหน้าที่ และเครือข่ายด้านปศุสัตว์เข้าพื้นที่ตรวจเยี่ยมเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ปีกทุกหลังคาเรือน หากพบสัตว์ปีกป่วยตายผิดปกติให้ทำลายทันที และฉีดพ่นน้ำยาฆ่าเชื้อโรคในพื้นที่เสี่ยง พร้อมทั้งสุ่มเก็บตัวอย่าง cloacal swab ในสัตว์ปีกที่เลี้ยงบริเวณบ้านในทุกหมู่บ้านของตำบลตามแนวชายแดน เพื่อส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการต่อไป และให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้มงวดตรวจสอบการลักลอบการเคลื่อนย้ายสัตว์ปีกเข้าออกตามแนวชายแดนพร้อมทั้งประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความเข้าใจให้แก่ประชาชนในพื้นที่อีกด้วย
อธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวเพิ่มเติมว่า กรมปศุสัตว์ได้มีมาตรการป้องกันโรคตามแนวชายแดน โดยไม่อนุญาตให้นำไก่ เป็ด ห่าน และนก รวมถึงไข่ที่ใช้สำหรับทำพันธุ์ และซากสัตว์ปีก ดังกล่าวจากประเทศกัมพูชาเข้าราชอาณาจักรจนกว่าสถานการณ์โรคจะสงบ ให้ด่านกักกันสัตว์ร่วมกับหน่วยงานที่รับผิดชอบแนวชายแดน เช่น ศุลกากร ด่านตรวจคน เข้าเมือง ทหาร ตำรวจตระเวนชายแดน ฯลฯ ตรวจสอบ ตรวจค้นผู้ที่เดินทางเข้าประเทศอย่างละเอียดว่ามีการลักลอบนำสัตว์ปีกหรือซากสัตว์ปีกเข้าราชอาณาจักรหรือไม่ ทั้งรถยนต์ รถจักรยานยนต์ รถจักรยาน เรือ รถเข็น ตลอดจนการเดินเท้าเข้ามา หากพบการกระทำผิดให้จับกุมดำเนินคดี ยึดของกลางเพื่อตรวจพิสูจน์ หากพบว่าเป็นโรคระบาดหรือพาหะของโรคระบาดให้ทำลายตามกฎหมายว่าด้วยโรคระบาดสัตว์ต่อไป และกำชับให้เจ้าหน้าที่ของด่านกักกันสัตว์ตั้งจุดพ่นยาฆ่าเชื้อในบริเวณจุดผ่านแดน โดยให้พ่นยานพาหนะทุกคันที่สงสัยว่ามีการปนเปื้อนเชื้อโรค ทั้งรถยนต์ รถจักรยานยนต์ รถจักรยาน ตลอดจนรถเข็น โดยเน้นให้ฉีดพ่นด้วยเครื่องพ่นยาฆ่าเชื้อแรงดันสูงที่ล้อรถและบริเวณใต้ท้องรถ หากเป็นรถบรรทุกสัตว์ให้ฉีดพ่นทั้งบริเวณที่บรรทุกสัตว์ให้เปียกชุ่ม
อีกทั้งเน้นประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนบริเวณแนวชายแดน ตลอดจนผู้ที่เดินทางเข้า-ออกราชอาณาจักรให้ระมัดระวังป้องกันโรคไข้หวัดนก ตลอดจนขอความร่วมมือในการแจ้งเบาะแสการลักลอบนำเข้าสัตว์ปีกและซากสัตว์ปีก ให้หน่วยงานที่รับผิดชอบบริเวณแนวชายแดนมีการพบปะหารือ และแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านโรคระบาดสัตว์ ระหว่างเจ้าหน้าที่ไทยกับประเทศเพื่อนบ้านเป็นประจำทั้งอย่างเป็นทางการ และไม่เป็นทางการ และด่านกักกันสัตว์ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการลาดตระเวนดักซุ่มหาข่าวการลักลอบนำเข้าสัตว์และซากสัตว์เป็นประจำ พร้อมทั้งดำเนินคดีผู้กระทำผิดอย่างเข้มงวด
และสุดท้ายต้องขอความร่วมมือจากหน่วยงานทุกฝ่ายให้ดำเนินงานอย่างเคร่งครัดเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกจากประเทศเพื่อนบ้านเข้าสู่ประเทศไทย
………………………………………………………
ข้อมูล : สำนักควบคุม ป้องกัน และบำบัดโรคสัตว์
เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ : น้องนุช สาสะกุล นักวิชาการเผยแพร่ชำนาญการ กรมปศุสัตว์
แนะนำสนามไก่ชน : สนามกีฬาชนไก่อินโดจีน จังหวัดนครพนม
สนามกีฬาชนไก่อินโดจีน จังหวัดนครพนม " ดินแดนแห่งสุภาพบุรุษ
ตั้งอยู่ที่ บ้านน้อยใต้ เทศบาลเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม
เลขที่ 100 / 10 บ้านน้อยใต้ อำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม
โทร . 081 - 7997214 , 081 - 3696338 , 083 - 2848626
สนามกีฬาไก่ชนอินโดจีน นครพนม " สนาม 1 " ( สนามสังเวียนใหญ่ )
ที่นั่งริงไซต์ ราคา 100 บาท และ ทั่วไปราคา 50 บาท
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)